บทความ

สมาชิกการจัดการ60ห้องB

สมาชิกในชั้นเรียน อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค อาจารย์ปาล์ม     1.นายเกียรติศักดิ์ เกตุอักษร ไฟท์     2.นายจรณะ  แท่งทอง   เปา     3.นางสาวเฉลิมพร ศรีมณี เจล     4.นายชาติศิริ รัตนชู ติ๊บ     5.นายชินวัฒร์ เพ็ชรโสม แมน     6.นายณฐกร ชัยปาน โจ     7.นายณัฐกร สงสม จ๊อบ     8.นายณัฐพล วงศ์สุขมนตรี เกมส์     9.นางสาวทัสนีย์วรรณ กาญจโนภาส ษา    10.นายธนวัต แก้วบุษบา ธัน    11.นายนราธร จันทรจิตร เนม    12.นางสาวนิชาภัทร เพ็ชรวงศ์ แอม    13.นางสาวเบญญทิพย์ ฆังคสุวรรณ อ้าย    14.นางสาวปัถยา บุญชูดำ ปัด    15.นายพศวัต บุญแท่น อ๊อฟ    16.นางสาวแพรพลอย พรหมประวัติ แพรรี่    17.นายไฟซ้อล ประชานิยม ซอล    18.นายภูมิภัทร สรรนุ่ม อ้วน    19.นายยศกร บัวดำ ทาย    20.นางสาวรัฐชา วงศ์สุวรรณ เบญ    21.นายเรืองศักดิ์ ใหม่แก้ว เอ็ม    22.นางสาววลีพร ลิขิตธีระกุล นุ้ก    23.นายวาทิศ อินทร์ปาบ รถเบนซ์    24.นางสาววิภารัตน์ ดำสุข ออม    25.นางสาวศศิธร ชูปาน จูน    26.นายศุภกิจ ติเลส ดุกดิก    27.นายเศรษฐชัย ฐินะกุล ตาล    28.นายสราวุธ จันทร์แก้ว ฟิล์ม    29.นายสุชาครีย์ งามศรี

ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ

รูปภาพ
ระบบ AS/RS AS/RS     ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ   (Automated Storage/Retrieval System  เรียกโดยย่อว่า  AS/RS)   คือ   การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้ โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ  AS/RS  จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์  AS/RS  ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ ระบบ  AS/RS  แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้ - Unit Load AS/RS - Miniload AS/RS - Man-on-Board AS/RS  หรือ  Manaboard AS/RS - Automated Item Retrieval System - Deep-Lane AS/RS          องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ  AS/RS 1.        โครงสร้างที่เก็บวัสดุ  (Storage Structure) 2.        เครื่อง  S/R (Storage/Retrieval Machine) 3.        หน่วยของการเก็บวัสดุ  (Storage Module) 4.        สถานีหยิบและฝากวัสดุ  (Pickup and Deposit Stati

หุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม

หุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม ภายใต้หลักการ  Reliability & Creativity  เราจึงมุ่งมั่นในการพัฒนาวงการอุตสาหกรรม ทั้งกระบวนการผลิต แขนกล หุ่นยนต์ และกำลังการผลิตให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการในการใช้งานผลิตภัณฑ์โลหะที่เพิ่มสูงขึ้นในทั้งปัจจุบันและอนาคต เราจึงเป็นที่แรกของโลก ที่ได้คิดค้นนวตกรรมใหม่ Synchromotion ระบบประสานงาน เพื่อควบคุมแขนกลให้ทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้น คุณภาพสินค้าคือสิ่งที่เรายึดมั่นสูงสุด เราจึงมีกระบวนการผลิตที่เบ็ดเสร็จ ตั้งแต่การเลือกสรรวัตถุดิบ จนกระทั้งเกิดเป็นสินค้า โดยตั้งอยู่บนพื้นฐาน QCD [Q = Quality, C = Lower Cost, D = Delivery on time] โดยที่สินค้าทุกชิ้นของโอทีซี เกิดจากกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ พิถีพิถัน และให้ความสำคัญในการตรวจสอบคุณภาพ อีกทั้งไม่ลืมที่จะใส่ใจสิ่งแวดล้อม จึงเรียกได้ว่าเป็นกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง อันนำมาซึ่งรางวัลมาตรฐานมากมาย ไม่ว่าจะเป็น  ISO14001:2004 ,  ISO9001:2008  ซึ่งเป็นสิ่งที่สามารถรับประกันคุณภาพและความสำเร็จของเราได้เป็นอย่างดี ตลอดการดำเนินงาน เราภา

เครื่องจักร NC

รูปภาพ
  เครื่องจักร NC        เครื่องจักร NC ( Numerical Control) จะถูกควบคุมการทํางานดวยรหัส ที่ประกอบดวยตัวเลข ตัวอักษร     และสัญลักษณอื่น ๆ ซึ่งรหัสเหลาน ี้ จะถูกแปลงใหเปนสัญญาณทางไฟฟา จากน ั้นจึงสงไป กระตุนใหอุปกรณทางไฟฟา เชนมอเตอรหรืออุปกรณอื่น ๆ ทํางาน ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ เครื่อง NC รุนแรก ๆ จะปอนรหัสผานทาง Punched Card ตอมามีการพัฒนามาเปนการปอนดวย เทปกระดาษเจาะรู ตอมาถึงยุคท ี่ คอมพิวเตอรเฟองฟูจึงนําคอมพิวเตอรมาเปนตัวปอนรหัสแทน เทป กระดาษ จึงเปนที่มาของเครื่อง CNC (Computerized Numerical Control)        ข้อดีของเครื่องจักรเอ็นซี     1. มีความยืดหยุ่นในการทำงานสูง การเปลี่ยนงานใหม่จะแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงเฉพาะโปรแกรมเท่านั้น     2. ความเที่ยงตรง (Accuracy) จะอยู่ระดับเดียวกันตลอดช่วงความเร็วรอบและอัตราป้อนที่ใช้ทำการผลิต     3. ใช้เวลาในการผลิต (Production Time) สั้นกว่า     4. สามารถใช้ผลิตชิ้นงาานที่มีรูปร่างซับซ้อนได้ง่าย     5. การปรับตั้งเครื่องจักรสามารถทำได้ง่าย ใช้เวลาน้อยกว่ากว่าการผลิตด้วยวิธีอื่น     6. หลีกเลี่ยงความจำเป็นที่ต้องใช้ช่

เทคโนโลยีการสื่อสาร

รูปภาพ
ICOM IC - 50FX      • ขนาดเล็กกะทัดรัด น้ำหนักเพียง 300 กรับ (พร้อมถ่าน  1,600  mAh BP-279)            พร้อมถ่าน 1600 mAh. BP-279    • กำลังส่งสูงสุด แต่กินไฟเพียงนิดเดียว ( 5 วัตต์ กินไฟเพียง 1.3A)    • 80 ช่องสัญญาณความถี่    • ช่องย่อยมากกว่า 50,000 ช่อง      -  CTCSS (TONE SQUELCH) 51 โทน หรือ 2,040 ช่องย่อย          *  มีโทนพิเศษสามารถตั้งได้ตามตามความพอใจ      -  DTCS (DIGITAL TONE CODE SQUELCH) 512 โทน      -  Built-in 2 TONE, 5 TONE         การตั้งรหัสเฉพาะเครื่องของแต่ละเครื่องและแต่ละกลุ่ม เพื่อความสะดวกในการเรียก         แต่ละเครื่องหรือเรียกเป็นกลุ่มจะสามารถเรียกได้เฉพาะในกลุ่มที่ตั้งรหัสกลุ่มเดียวกันนั้น    • โครงสร้างแข็งแกร่งสุดด้วยมาตรฐาน MILSTD 810C/D/E เวอรชั่นล่าสุด    • IP- 67  กันน้ำที่ความลึก 1 เมตร 30 นาที    • วงจรถนอมเครื่อง [TIME OUT TIMER (TOT)]       ป้องกันการคีย์ค้าง หรือการกดส่งนานเกินไป(เลือกตั้งเวลาตัดได้)    • แบตเตอรี่พลังสูง (Lithium-icon)    • ประหยัดพลังงาน เมื่อเปิดเครื่องทิ้งไว้ถ้าไม่มีการรับส่งเกิน 1 นาที        เครื่องจะปรั

วิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

เนื้อหาประจำวิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม บทที่1 คาวรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ บทที่2 การนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม บทที่3 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย บทที่4 ระบบประมวลผล บทที่5 เครื่องจักรกลNC บทที่6 หุ่นยนต์อุตสาหกรรม บทที่7 ระบบถ่ายวัสดุอัตโนมัติ บทที่8 ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ บทที่9 PLC/PC บทที่10 คอมพิวเตอร์กับงานผลิต

ประวัติส่วนตัว

รูปภาพ
ชื่อ นายณัฐกร สงสม ชื่อเล่นชื่อ  จ๊อบ เกิดวันที่ 1 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2539 รหัสนักศึกษา 606705052 ที่อยู่ 191 ม.2  ต.บ้านพร้าว อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง เบอร์โทรศัพท์ 0840695183 facebook. Natthakorn Songsom จบชั้นประถมศึกษาปีที่6 จากโรงเรียนบ้านตลิ่งชัน จบปวช.-ปวส.จาก วิทยาลัยเทคนิคป่าพะยอม สาขา เทคนิคยานยนต์ เกรดเฉลี่ย 3.38 คาวมสามารถพิเศษ กีฬาเปตอง มาศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม โปรแกรมวิชา อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขา เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม